สั่งซื้อสินค้า สมัครสมาชิกกิฟฟารีน ติดต่อ  0866776694 
สารสกัดเมล็ดองุ่น คุณประโยชน์&งานวิจัย 

เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับ สารสกัดเมล็ดองุ่น

สารสกัดเมล็ดองุ่น เป็นสารประเภท ไบโอฟลาโวนอยด์ มีสารที่สำคัญ หลายตัว
เป็นกลุ่มของโปรแอนโทรไซยานิติน(PCO)

สารนี้เมื่อรวมตัวกันจะอยู่ในรูปของ  (Oligomeric proanthocyyanidin)หรือเรียกย่อๆ ว่า OPC 
มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงกว่าวิตามินซีและมากกว่าวิตามินอีถึง 20 และ 50 เท่าตามลำดับ

สารสกัดเมล็ดองุ่น ช่วยลดการสะสมของโคเลสเสตอรอลในผนังเส้นเลือด 
ช่วยทำให้เส้นเลือดไม่ตีบตัน ลดการอุดตันของเส้นเลือด
มีผลต่อกล้ามเนื้อหัวใจ โดยทำให้กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรง และทนทานต่อการขาดเลือด 
และลดการเต้นผิดจังหว่ะ มีผลทำให้ลดอัตราการตายจากโรคหัวใจ 







ในระยะหลัง ปี 1980 พบว่า มีการใช้สารกลุ่มไบโอเฟลโวนอยด์ที่เป็นสารสกัดเมล็ดองุ่นในการรักษา 
ความผิดปกติของหลอดเลือดและเส้นเลือดฝอย เส้นเลือดฝอยเปราะ และใช้รักษา เบาหวานขึ้นตาและจอประสาทตาเสื่อม

สารสกัดจาก เมล็ดองุ่น สารมาถ ลดการเป็นพิษต่อไต ในผู้ที่ได้รับสารพิษจากยา จึงมีประโยชน์ต่อไต ในผู้ป่วยเบาหวาน ในผู้ป่วยเบาหวาน 

ผลงานวิจัยมากมายทั่วโลก แสดงให้เห็นว่าสารสกัดเมล็ดองุ่น เป็นอาหารเสริมที่แนะนำให้ผู้ป่วยมะเร็งบริโภค 
ในระดับเซลล์ สารสกัดเมล็ดองุ่นมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นอันตรายต่อดีเอ็นเอ และการเปลี่ยนแปลงของยีน 

สารสกัดเมล็ดองุ่นสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของมะเร็งเต้านมได้ถึง72% และกระตุ้นการทำลายของเซลล์มะเร็งเต้านมได้ถึง 33% 
สตรีที่บริโภคสารสกัดเมล็ดองุ่น หรือผลิตภัณฑ์จากองุ่น มีโอกาสเกิดมะเร็งเต้านมได้น้อยกว่าสตรีที่ไม่ได้บริโภคถึง 34%

การบริโภคสารสกัดเมล็ดองุ่น ยังให้ผลป้องกันและทำลายมะเร็งต่อมลูกหมาก, มะเร็งกระเพาะอาหาร, มะเร็งลำไส้ใหญ่ , 
มะเร็งผิวหนัง Squamous Cell CA, มะเร็งปอด,มะเร็งสมอง Glioblastoma, มะเร็งเม็ดเลือดขาว Aml Lyphoid leukaemia 


นอกจากนี้ คุณสมบัติในการเป็นสารแอนติออกซิแดนท์ยังอาจช่วยป้องกันโรคหัวใจและโรคมะเร็ง โรคข้ออักเสบ 
[color=red]ลดภูมิแพ้จากยาต้านไวรัส ยาต้านมะเร็ง[/color] และเพิ่มภูมิต้านทานของร่างกาย

          ขนาดรับประทานสารสกัดจากเมล็ดองุ่น ต้องดูปริมาณของสารออกฤทธิ์เพื่อให้ได้ผลคุ้มค่า คือ 
ควรมีปริมาณสาร OPC สูงประมาณ 92-95% ขนาดที่ใช้ในการรักษาสุขภาพ คือ วันละ 50-100 มิลลิกรัม 
แต่ในกรณีที่ใช้บำบัดโรค ต้องใช้ขนาดสูงถึงวันละ 150-300 มิลลิกรัม


เอกสารอ้างอิงงานวิจัย

1. Grape seed proanthocyanidins improved cardiac recovery during reperfusion after ischemia in isolated rat hearts.
Am J Clin Nutr 2002 May;75 (5) :894-9.
2. Proanthocyanidin-rich extract from grape seeds attenuates the development of aortic atherosclerosis in cholesterol-fed robbits.
Atherosclerosis 1999;142 (1):139-49
3 Free radicals and grape seed proanthocyanidin extract: Importance in human health and disease prevention.
Toxicology 2000 Aug 7;148 (2-3) :187-97
4. Anticarcinogenic effect of a polyphenolic fraction isolated from grape seeds in human prostate carcinoma DU145 cells: modulation of mitogenic signaling and cell-cycle regulators and induction of G1 arrest and apoptosis. Mol Carcinog 2000 Jul;28(3):129-38
5. A polyphenolic fraction from grape seeds causes irreversible growth inhibition of breast carcinoma MDA-MB468 cells by inhibiting mitogenactivated protein kinases activation and inducing G1 arrest and differentiation. Clin Cancer Res 2000 Jul;6(7):2921-30
6. Protective effects of antioxidants against smokeless tobacco-induced oxidative tress and modulation of Bcl-2 and p53 genes in human oral Keratinocytes. Free Radic Res 2001 Aug;35(2):181-94
7. Relationship between the intake of high-fiber foods and energy and the risk of cancer of the large bowel and breast.
Eur J Cancer Prev 1998;7 Suppl 2:S11-7:S11-7
8. Protective effect of fruits and vegetables on stomach cancer in a cohort of Swedish twins. Int J Cancer 1998;76(1):35-7.
9. Dietary factors and risk of lung cancer in never-smokers. Int J Cancer 1998;78(4):430-6
10. Vegetableand fruit intake and the risk of lung cancer in women in Barcelona, Spain. Eur J Cancer 1997;33(8):1256-61.
11. Intake of vitamins E, C, and A and risk of lung cancer. The NGANES I epidemiologic follow-up study. First National Health and NutritionExamination Survey. Am J Epidemiol 1997;146(3):231-43
13. Dletary carotenoids and vitamins A, C, and E and risk of breast cancer. J Natl Cancer Inst 1999;91(6):547-56.
14. Vegetable and fruit consumption and prostate cancer risk: a cohort study in The Netheriands. Cancer Epidemiol Biomarkers Prev
1998;7(8) :673-80
15. Fruit and vegetable intake and incidence of bladder cancer in a male prospective cohort. J Natl Cancer Inst 1999;91(7):605-13.
16. Dietary antioxidants and risk of myocardial infarction in the elderly; the Rotterdam Study. Am J Clin Nutr 1999;69(2):261-6.
------------------------.

สอบถามโปรโมชั่นหรือเก็บเงินปลายทางทักแชต



ผลิตภัณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง: 


ANATTARA SHOP
BY GIFFARINE
ให้เราช่วยดูแลคุณ
ติดต่อ ปรีกษา ผู้เชี่ยวชาญ:
เช บ.อนัตตาเอ็นเตอร์ไพร์ส จำกัด
โทร:0866776694
สมัครสมาชิกรับส่วนลด 
ราคาสมาชิก



   
รหัสตัวแทน  47050480
ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ 
จาก บ.กิฟฟารีนสกายไลน์ยูนิตี้จำกัด

แชร์หน้านี้
ขอสงวนสิทธิ์ในการคัดลอกบทความ หรือ รูปภาพ ห้ามนำไปใช้โดยมิได้รับอนุญาติ
จัดทำโดยนักธุรกิจกิฟฟารีน มิใช้เว็บไซต์ อย่างเป็นทางการของบริษัทกิฟฟารีน สกายไลน์ ยูนิตี้